FELO ช่วยอะไรอาจารย์-นักวิชาการได้บ้าง?

คู่มือ Step-by-Step ใช้งาน AI สำหรับคนทำงานการศึกษา

ในยุคที่โลกวิชาการเดินเร็ว แต่เอกสารยังเดินช้า

FELO คือ AI ที่จะทำให้อาจารย์ นักวิจัย และผู้บริหารสถาบัน “ปลดล็อกเวลา” เพื่อกลับไปทำสิ่งที่สำคัญที่สุด

เพราะเวลาของอาจารย์… ควรค่าแก่การ “ออกแบบการเรียนรู้” ไม่ใช่ “แก้งานเอกสาร”

FELO

จากประสบการณ์ตรงของแอดมิน และจากอาจารย์ที่เราได้สัมภาษณ์ พบว่ามี “งานซ้ำซ้อน” หลายอย่างที่คนในวงการการศึกษาต้องเผชิญ เช่น

– ต้องสรุปงานวิจัยซ้ำหลายรอบเพื่อตอบทุน
– เขียนบทความวิชาการแต่เริ่มต้นไม่ถูก
– เตรียมแบบฟอร์มรายวิชาหลายสิบหน้า
– ประชุมบอร์ดแล้วต้องสรุปรายงานเอง
– นักศึกษาเขียน Thesis ผิดทิศ ต้องคอยช่วยโครงสร้างใหม่

ทั้งหมดนี้ FELO ช่วยได้จริง

FELO ช่วยอะไรอาจารย์-นักวิชาการได้บ้าง?

FELO = Friendly Expert Learning Organizer
เป็น AI ภาษาไทย ที่ออกแบบมาเพื่อคนทำงาน “สายความรู้” โดยเฉพาะ

1. รองรับงานวิชาการไทย + สากล

2. เข้าใจภาษาไทยระดับวิชาการ ไม่แปลตก

3. ตั้ง Prompt แบบคนไม่เก่งเทคโนโลยีก็ใช้ได้

4. สร้างสื่อการสอน / เอกสารรายวิชา ได้ในไม่กี่คลิก

5. ช่วยออกแบบงานวิจัย วิเคราะห์ เปรียบเทียบ สรุปผล

6. มีทีมคนไทยพัฒนาและอัปเดตตลอด

AI วิจัย

(พร้อมตัวอย่าง+เทคนิค Prompt ขั้นสูง)

จาก : “ไม่รู้จะเริ่มต้นยังไงดี”
กลายเป็น : “มีร่างโครงสร้างภายใน 5 นาที”

วิธีใช้
• ใส่หัวข้อวิจัย เช่น “ผลของการใช้ AI ในการเรียนรู้แบบ PBL”
• สั่งให้ FELO ร่างโครงบทความ 5 ส่วน: บทนำ / วัตถุประสงค์ / วิธีวิจัย / ผลลัพธ์ / ข้อเสนอแนะ

Prompt ตัวอย่าง
“ช่วยร่างบทความวิจัยความยาว 800 คำเรื่อง ‘การใช้ AI เพื่อส่งเสริมทักษะการเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา’ โดยใช้กรอบการวิจัยแบบเชิงคุณภาพ”

ผลลัพธ์ : ได้บทความคร่าว ๆ พร้อมโครงชัดเจน ซึ่งอาจารย์สามารถแก้ไข ต่อยอด หรือส่งให้นักศึกษาใช้เป็นแนวทางได้

จาก : “เสียเวลาเปิดทีละบทความ”
กลายเป็น : “มีสรุปเปรียบเทียบในตาราง พร้อมเชิงอรรถ”

วิธีใช้
• ใส่ลิงก์หรือตัดเนื้อหามาจากงานวิจัย
• ให้ FELO สรุป + จัดหมวด + เปรียบเทียบ
• แนะนำให้สรุปงาน 3-5 ฉบับต่อรอบ

Prompt ขั้นสูง
“เปรียบเทียบงานวิจัย 5 ฉบับนี้ โดยจัดตารางเปรียบเทียบด้าน population, research method, findings, และข้อเสนอแนะ”

ผลลัพธ์ : เหมาะสำหรับทำบทที่ 2 ของวิทยานิพนธ์ หรือเวลายื่นของบทุนวิจัย

จาก : “เขียนคำถามไม่ตรงตัวแปร”
กลายเป็น : “ได้แบบสอบถามที่พร้อมใช้งานและตรงวัตถุประสงค์”

เทคนิค
• ระบุตัวแปรให้ชัด (อิสระ / ตาม / แทรกแซง)
• ระบุจำนวนคำถาม / มิติ / รูปแบบ (Likert, Open-ended)
• ให้ FELO ช่วย “แบ่งหมวด” และตรวจสอบความตรง

Prompt ตัวอย่าง
“ช่วยออกแบบแบบสอบถามเพื่อวัดความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการเรียนแบบ Active Learning โดยแบ่งออกเป็น 3 ด้าน: ด้านการมีส่วนร่วม, ด้านเนื้อหา และด้านความเข้าใจ พร้อมใช้สเกล 5 ระดับ”

FELO ช่วยอะไรอาจารย์-นักวิชาการได้บ้าง?

จาก : “บทความดีแต่ติดภาษา”
กลายเป็น : “เขียนเหมือนเจ้าของภาษา”

วิธีใช้
• วางบทความภาษาอังกฤษลงใน FELO
• สั่งให้ตรวจ grammar + ปรับสำนวนให้น่าเชื่อถือ
• เลือกโทน Formal / Semi-formal ได้

Prompt ตัวอย่าง
“Proofread this academic paper for grammar, clarity, and coherence. Target journal: Scopus Q2 level.”

ผลลัพธ์ : ทำให้บทความมีโอกาสตีพิมพ์สูงขึ้น โดยไม่ต้องเสียเงินให้ editor ต่างชาติ

จาก : “แก้ไฟล์ syllabus เดิมวนไป”
กลายเป็น : “มีโครงสร้างรายวิชาใหม่ พร้อม LO และกิจกรรมประกอบ”

เทคนิค
• ระบุชื่อวิชา + ระดับชั้น + แนวการสอน (เช่น Active Learning)
• FELO จะแนะนำ Learning Outcome, เกณฑ์การวัด, และกิจกรรมประกอบ

Prompt ตัวอย่าง
“ช่วยออกแบบรายวิชา ‘การคิดเชิงระบบเพื่อแก้ปัญหาในศตวรรษที่ 21’ สำหรับนักศึกษาปี 2 โดยมีการใช้ Problem-based Learning เป็นหลัก”

เตรียมขอทุนวิจัยเรื่อง “ผลของการใช้ Game-based Learning ในห้องเรียนประถมศึกษา”

สิ่งที่ FELO ช่วย คือ

1. ร่างโครงการวิจัยพร้อมที่มา-ปัญหา-ประโยชน์

2. สรุปงานวิจัยที่เกี่ยวข้องจากบทความไทย-ต่างประเทศ

3. ช่วยจัดทำแบบสอบถามให้ตรงกับทักษะเป้าหมาย (Critical thinking / Engagement)

4. ตรวจแก้รายงานเป็นภาษาอังกฤษ

5. จัดทำ Infographic สรุปเพื่อใช้เสนอต่อกรรมการ

ระยะเวลา : จากปกติ 2 สัปดาห์ ตอนนี้ใช้เวลาเพียง 3 วัน ก็ยื่นเอกสารชุดแรกได้ครบ

ขั้นตอนเริ่มต้น (แม้ไม่เก่งเทคโนโลยี)

1. เข้าสู่เว็บไซต์ https://felo.me

2. สมัครสมาชิก (มีแบบใช้งานฟรี และ PRO)

3. เริ่มจากงานใกล้ตัว เช่น สรุปรายงานประชุม / ร่างบทเรียน

4. ตั้งคำถามให้เฉพาะเจาะจง เช่น “ช่วยออกแบบกิจกรรม PBL สำหรับวิชาวิทยาศาสตร์ ป.5”

5. ฝึกใช้งานบ่อย ๆ แล้วคุณจะเริ่ม “มองออก” ว่าจะใช้ AI ให้เกิดประโยชน์ได้อย่างไรกับงานของคุณ

FELO ไม่ได้แทนความคิดเรา แต่ช่วยให้เราคิดเร็วขึ้น ลึกขึ้น มีโครงชัดเจน

ความรู้ + AI = คุณภาพที่ทวีคูณ

อาจารย์ที่ใช้ AI ไม่ได้ขี้โกง…แต่คือคนที่มองไกล

FELO คือเครื่องมือที่ “ไม่ต้องเก่งเทค” ก็เริ่มใช้ได้ แต่ถ้าใช้จนชำนาญ…จะเปลี่ยนบทบาทอาจารย์ จากผู้จัดการเอกสาร เป็น “ผู้ออกแบบการเรียนรู้”

ลองเปิดใจให้ AI ทำในสิ่งที่เราไม่ควรเสียเวลาทำ แล้วคุณจะมีพลังไปทำสิ่งที่ “มีคุณค่าต่อคน” มากกว่าที่เคย

ศาสตราจารย์ อาจารย์มหาวิทยาลัย

ถ้าคุณไม่มาเรียน… อาจต้องใช้เวลาเป็นปี แล้วยังไม่เสร็จ!

“เขียนตำราวิชาการด้วย AI แบบถูกหลัก ถูกต้อง และทันสมัย”

เรียนกับผู้เชี่ยวชาญที่สอนอาจารย์ทั่วประเทศมาแล้วนับร้อย เพราะการใช้ AI ช่วยเขียนตำรา… ไม่ใช่แค่ “พิมพ์ Prompt แล้วรอผล” แต่ต้องรู้ว่า ใช้เครื่องมือไหน – ทำอะไร – ยังไงให้ผ่านเกณฑ์จริง

ศาสตราจารย์ใหม่ ศาสตราจารย์ อาจารย์มหาวิทยาลัย

วันแรก : ใช้ AI ยังไงให้ถูกต้อง และตรงมาตรฐาน สกอ.

วันที่สอง : ตรวจ – ปรับ – พร้อมส่งพิมพ์

หลักสูตรนี้ ไม่ใช่แค่การสอนใช้ AI แต่คือการเปลี่ยนคุณให้เขียนตำราได้จริง มีตัวอย่างตำราที่ผ่านเกณฑ์มาแล้วจากผู้เรียนจริง- ทุกเครื่องมือที่ใช้ ตรวจสอบได้ว่าถูกต้องตามจริยธรรม และมาตรฐานงานวิชาการ

Scroll to Top